วันพฤหัสบดีที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ปวส  ชีวิตและวัฒนธรรมไทย

1.  ข้อใดคือความหมายของชีวิตและวัฒนธรรม
ก.   ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม       
ข.   ลักษณะเฉพาะของการดำรงชีวิตแบบไทย
ค.   การดำรงชีวิตของคนไทยอย่างมีแบบแผน
ง.   การดำรงชีวิตหรือการมีชีวิตอยู่
จ.   ความต้องการด้านจิตใจ
2.  ความสำคัญของเอกลักษณ์วัฒนธรรมไทยคือข้อใด
ก.   แสดงให้เห็นถึงฐานะทางเศรษฐกิจของไทย       
ข.   แสดงให้เห็นถึงจำนวนประชากรของไทย
ค.   แสดงให้เห็นถึงลักษณะการประกอบอาชีพของคนไทย     
ง.   แสดงให้ทั่วโลกรู้จักประเทศไทยและเข้ามาท่องเที่ยวมากขึ้น
จ.   แสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีของไทย
3.  หลักศิลาจารึกฯ แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ไทยด้านใด
ก.   ด้านศิลปกรรม                               
ข.   ด้านสถาปัตยกรรม
ค.   ด้านภาษา                                   
ง.   ด้านอาหาร เครื่องแต่งกาย
จ.   ด้านชีวิตความเป็นอยู่
4.  ข้อใดไม่เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรม
ก.   การทำอาชีพการเกษตร                  
ข.   ประเพณีการลอยกระทง
ค.   การนัดหยุดงาน             
ง.   การเป็นทหาร
จ.   การอยู่เป็นครอบครัวใหญ่
5.  ถ้าหากเราต้องการทราบเกี่ยวกับวิถีการดำเนินชีวิตในสังคมหนึ่ง ๆ ควรสังเกตอะไรเป็นหลัก
ก.   ค่านิยมของสังคมนั้น                      
ข.   วัฒนธรรมของสังคมนั้น
ค.   ความเจริญทางวัตถุ              
ง.   สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
จ.   ความเสื่อมโทรมของสังคม
6.  การรำกลองยาว เป็นศิลปะการฟ้อนรำของภาคใด
ก.   ภาคกลาง                                      
ข.   ภาคใต้
ค.   ภาคอีสาน                                   
ง.   ภาคเหนือ
จ.  ภาคตะวันตก
7.  ข้อใดเป็นการอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ก.   การแต่งกาย                          
ข.   การฟ้อนเล็บ
ค.   การบริโภค                         
ง.   การประกอบอาชีพ
จ.   การศึกษา
8.  สถาบันใดที่สร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเป็นสถาบันแรกคือสถาบันใด
ก.   สถาบันศาสนา
ข.  สถาบันการศึกษา
ค.   สถาบันครอบครัว
ง.    สถาบันเศรษฐกิจ
จ.   สถาบันการเมือง
9.  การจัดทำสารานุกรมภาษาถิ่น เป็นภูมิปัญญาสาขาใด
ก.   ศาสนาและประเพณี                        
ข.   ภาษาและวรรณกรรม
ค.   ศิลปกรรม           
ง.   การจัดการองค์กร
จ.   แพทย์แผนไทย
10.              ภูมิปัญญาข้อใดที่มีความสำคัญในการสร้างความสมดุลระหว่างคนกับธรรมชาติ
ก.   อาหารไทย
ข.   รำไทย
ค.   มวยไทย                             
ง.   ประเพณี 12 เดือนของไทย
จ.  ร้องเพลงไทย


11.              ข้าวยำเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นใด
ก.   ภาคเหนือ
ข.   ภาคใต้                         
ค.   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                      
ง.   ภาคตะวันออก
จ.   ภาคตะวันตก
12.              ข้อใดไม่ใช่ประเภทของภูมิปัญญาไทย
ก.   ภูมิปัญญาระดับโลก                        
ค.   ภูมิปัญญาระดับชาติ             
ข.   ภูมิปัญญาระดับท้องถิ่น
ค.   ภูมิปัญญาชาวบ้าน  
จ.  การกอบกู้เอกราชโดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
13.              “ผ้าแพรวา” เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่นใด
ก.   ลพบุรี                           
ข.   น่าน
ค.   กาฬสินธุ์                            
ง.   สุโขทัย
จ.  สตูล
14.              ข้อใดไม่ได้หมายถึงจิตสาธารณะ
ก.   บริจาคโลหิต                         
ข.   รักษาสิ่งแวดล้อม
ค.   ประหยัดพลังงาน                                 
ง.   ใช้โทรศัพท์สาธารณะ
จ.  ช่วยคนพิการข้ามถนน
15.              ข้อใดไม่ใช่แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ
ก.   เห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเสมอ                        
ข.   คิดถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่ตนเองเสมอ
ค.   มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่นเสมอ                         
ง.   รักษาระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมเสมอ
จ.  เห็นผลกระทบที่จะเกิดต่อส่วนรวม


16.              หลักธรรมใดคือหลักสู่ความสำเร็จ
ก.   อริยสัจ ๔
ข.   ขันธ์ ๕                         
ค.   อิทธิบาท ๔                         
ง.   พรหมวิหาร ๔
          จ.   สังคหวัตถุ ๔
17.              ข้อใดคือความสำคัญของวัดและศาสนาที่เป็นศูนย์กลางของสังคม
ก.   ด้านสังคม                                     
ข.   ศิลปวัฒนธรรม
ค.   เศรษฐกิจ                    
ง.   ด้านธุรกิจ
จ.   การเมือง
18.              หลักธรรมทางศาสนาสามารถนำมาใช้กับชีวิตประจำวันในเรื่องใด
ก.   ความอดทนอดกลั้น
ข.   แสดงหาสาเหตุแห่งปัญญาและวิธีแก้ปัญหา
ค.   ความซื่อสัตย์ต่อกัน                      
ง.   สละให้ปันสิ่งของตนเองแก่คนที่ควรให้
จ.  ความอ่อนน้อมถ่อมตน
19.              การสรงน้ำพระจะกระทำในวันใด
ก.   วันลอยกระทง                               
ข.   วันออกพรรษา
ค.   วันเข้าพรรษา                              
ง.   วันสงกรานต์
จ.   วันจักรี
20.              ข้อใดคือการไม่มีจิตสาธารณะต่อตนเอง
ก.   เข้าชั้นเรียนและส่งงานสม่ำเสมอ
ข.   ใช้เวลาว่างเล่นเกมส์เสมอ
ค.   ออกกำลังกายสม่ำเสมอ                 
ง.   รู้จักใช้จ่ายประหยัดเก็บออมเสมอ
จ.   ทำความสะอาดบ้านเสมอ
      
         ประเด็นออกข้อสอบ
ข้อ
ประเด็นออกข้อสอบ
คะแนนเต็ม
ระดับพฤติกรรม
1-3
1. เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย
1.1 ความหมายของเอกลักษณ์
1.2 ความสำคัญของเอกลักษณ์
1.3 เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย

2
2
2

จำ
วิเคราะห์
สังเคราะห์
4-8
2. ประเพณีและวัฒนธรรม
2.1 ความหมายของประเพณีวัฒนธรรม
2.2 ความสำคัญของประเพณีวัฒนธรรม
2.3 ประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่น
2.4 การอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทย

2
2
2
4

จำ
วิเคราะห์
สังเคราะห์
สังเคราะห์
9-13
3. ภูมิปัญญาไทย
3.1 ความหมายของภูมิปัญญาไทย
3.2 ความสำคัญของภูมิปัญญาไทย
3.3 ประเภทของภูมิปัญญาไทย
3.4 การส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย

2
2
4
2

จำ
วิเคราะห์
สังเคราะห์
กานำไปใช้
14-16
4. จิตสาธารณะ
4.1ความหมายและความสำคัญจิตสาธารณะ
4.2 แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ

2
4

วิเคราะห์
สังเคราะห์
17-20
5. ศาสนากับการดำเนินชีวิต
5.1 ความสำคัญของศาสนากับการดำเนินชีวิต
5.2 สาระสำคัญของศาสนาที่ตนเองนับถือ
5.3 ประเพณี พิธีกรรม ของศาสนาที่ตนเองนับถือ

4
2
2

วิเคราะห์
วิเคราะห์
การนำไปใช้
รวม 20 ข้อ
50 คะแนน